วันพุธที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2558

การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน



1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลาคม พ.ศ. 25 อ่านเพิ่มเติม

การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ


ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆใน อ่านเพิ่มเติม

องค์กรการระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน


1.  คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council)
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ(Un  commission  for human  rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด  47  ประเทศ  วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ การพัฒนากลไกสิทธิมนุษยชนเป็นเอกภาพมาก อ่านเพิ่มเติม

สิทธิมนุษยชน





สิทธิมนุษยชนเป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ สิทธิเหล่านี้ "เข้าใจทั่วไปว่าเป็นสิทธิมูลฐานอันไม่โอนให้กันได้ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเองเพียงเพราะเธอหรือเขาเป็นมนุษย์" ฉะนั้น จึงเข้าใจว่าสิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งสากล (มีผลทุกที่) และสมภาค (เท่าเทียมสำหรับทุกคน) ลัทธิสิทธิมนุษยชนมีอิทธิพลอย่างสูงในกฎหมายระหว่างประเทศ สถาบันระดับโลกและภูมิ อ่านเพิ่มเติม

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและประเทศ


๑) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาซึ่งประกาศบังคับใช้เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งมีสาระสำคัญ ดังนี้
-เป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน และเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการศึก อ่านเพิ่มเติม

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว


นักเรียนเป็นเด็กและเยาวชนย่อมอยู่ภายใต้ข้อบังคับของกฎหมายเช่นเดียวกับบุคคลอื่นๆมิได้ยกเว้นว่า ถ้าเป็นเด็กหรือเยาวชนฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายแล้วจะไม่ต้องรับโทษหรือไม่มีความผืด ดังนั้นจึงจำเป็นต้องศึกษากฎหมายให้เข้าใจเพื่อจะได้ปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย อ่านเพิ่มเติม

ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์


สังคมทุกสังคมจะเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นได้ ย่อมต้องมีระเบียบวินัยและผู้นำของสังคมเป็นหลักในการปกครอง ผู้นำของสังคมระดับประเทศโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของประธานาธิบดีหรือพระมหากษัตริย์ สำหรับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ อ่านเพิ่มเติม

รัฐ


รัฐ คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจากภายนอก และอาจกล่าวได้ว่า รัฐสามารถคงอยู่ได้แม้จะไม่ได้รับการรับรองจากรัฐ อ่านเพิ่มเติม

คุณลักษณะของพลเมืองดี


พลเมืองที่ดีมีคุณลักษณะดังกล่าวนี้  จะเป็นผู้ที่ทำประโยชน์ให้แก่ครอบครัว  โรงเรียน  ประเทศชาติ และสังคมโลกเสมอ  ประเทศใดก็ตามที่มีพลเมืองดีเป็นจำนวนมาก  ประเทศนั้นก็จะมีแต่ความสงบสุขและเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง อ่านเพิ่มเติม

พลเมืองดี


พลเมืองดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตยจึงหมายถึง พลเมืองที่มีคุณลักษณะที่สำคัญ คือ เป็นผู้ที่ยึดมั่นในหลักศีลธรรมและคุณธรรมของศาสนา มีหลักการทางประชาธิปไตยในการดำรงชีวิต ปฏิบัติตนตามกฎหมาย ดำรงตนเป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ให้เป็นสังคมและประเทศประชาธิปไตยอย่างแท้จริงหลักการทางประชาธิปไตย อ่านเพิ่มเติม

การเปลี่ยนแปลง อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย


มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนคนส่วนใหญ่ ในสังคมปรับตัวเองไม่ทัน จนเกิดปัญหาทาง วัฒนธรรมที่ต้องมีการแก้ไขกันตลอดมา ทั้งนี้ก็ เพราะแต่เดิมสังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกร อ่านเพิ่มเติม

วัฒนธรรม


วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะ อ่านเพิ่มเติม

ปัญหาทางสังคม


การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา  และมีผลกระทบต่อเนื่องกัน  เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง  ย่อมส่งผลไปถึงสิ่งอื่น ๆ ด้วย  การเปลี่ยนแปลงบางเรื่องเป็นไปอย่างช้า ๆ  บางเรื่องเป็นไปอย่างรวดเร็วการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ส่งผลต่อสัง อ่านเพิ่มเติม

การเปลีี่ยนแปลงทางสังคม


สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอย่างสำคัญในรอบร้อยปี แต่ในระยะประมาณร้อยปีที่แล้วสังคมจำนวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากสภาพสังคมแบบโบราณกลายเป็นสังคมสมัยให้ อ่านเพิ่มเติม

การจัดระเบียบทางสังคม


การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสัง อ่านเพิ่มเติม

โครงสร้างทางสังคม


โครงสร้างทางสังคม  หมายถึง ส่วนต่าง ๆ  ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์  ส่วนประกอบดังกล่าวจะต้องเป็นเค้าโครงที่ปรากฏในสังคมมนุษย์ทุก ๆ  สังคม  แม้ว่าจะมีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกันไปในแต่ละสังคมก็ อ่านเพิ่มเติม